Travel male loving India
Amazing India Lettering Logo
Indonesian Lettering

Time for your ​next adventure

Let us plan it for you

เที่ยวที่ไหน..ก็โดนใจ

Book Now Button

4 คืน 5 วัน เดลลี ​อัครา ชัยปูร์

  • 5D/4N ทัวร์เต็มรูปแบบ
  • ที่พัก อาหาร และยานพาหนะ
  • ไกด์ท้องถิ่นดูแลตลอดการเดินทาง
Rounded Download Button
Book Now Button

4 คืน 5 วัน อชันตา อโรล่า เอ​เลนเฟนต้า มุมไบ

  • 5D/4N ทัวร์เต็มรูปแบบ
  • ที่พัก อาหาร และยานพาหนะ
  • ไกด์ท้องถิ่นดูแลตลอดการเดินทาง
Rounded Download Button
Book Now Button

7 คืน 8 วัน เดลลี แคชเมียร์ ​อัครา​ ชัยปูร์

  • 8D/7N ทัวร์เต็มรูปแบบ
  • ที่พัก อาหาร และยานพาหนะ
  • ไกด์ท้องถิ่นดูแลตลอดการเดินทาง
Rounded Download Button
Book Now Button

7 คืน 8 วัน เดลลี คาจูราโฮ อชัน​ตา อโรล่า มุมไบ

  • 8D/7N ทัวร์เต็มรูปแบบ
  • ที่พัก อาหาร และยานพาหนะ
  • ไกด์ท้องถิ่นดูแลตลอดการเดินทาง
Rounded Download Button
Icon Location

อินเดีย

อินเดีย ( อินเดีย : India ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐ​อินเดีย (Republic of India ) เป็นประเทศในทวีปเอเชียใต้ มี​ประชากรมากเป็นอันดับ 1 ของโลกและเป็นประเทศที่เป็น​ประชาธิปไตยใหญ่ที่สุดในโลก มีอาณาเขตทิศเหนือติดกับจีน เนปาล ​และภูฎาน ทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทิศตะวันออกติด​พม่า ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดมหาสมุทรอินเดีย ทางทิศตะวันออก​เฉียงใต้ติดศรีลังกา และทางทิศเหนือติดกับบังคลาเทศ


ประชากร

ประชากรอินเดียมี 1,408 พันล้านคน โดยเชื้อชาติส่วนใหญ่เป็น อิน​โด-อารยัน ตั้งแต่สมัยโบราณอินเดียแบ่งเป็น 4 วรรณะ ได้แก่

  • วรรณะพราหมณ์ ได้แก่กลุ่มนักบวช รวมถึงนักวิชาการ นัก​วิทยาศาสตร์ และนักการเมือง
  • วรรณะกษัตริย์ ได้แก่นักรบ รวมไปถึงข้าราชการ
  • วรรณะแพศย์ ได้แก่ พ่อค้า และ นักธุรกิจ
  • วรรณะศูทร ได้แก่ ผู้ใช้แรงงาน ชาวนา กรรมกร และคนยากจน

นอกจากนี้ในสังคมของชาวฮินดูยังมีการแบ่งวรรณะที่ต่ำที่สุด คือ ​ชนชั้น จัณฑาล หรือที่รู้จักกันในชื่อยุคใหม่ว่า "ดาลิต" มีความหมาย​ว่า "ผู้เป็นที่รักของพระเจ้า" ซึ่งเป็นชนนั้นที่ถูกเลือกปฏิบัติและมีสิทธิ​เสรีภาพทางสังคมน้อยที่สุด

Map India

ศาสนา

ประเทศอินเดียมีความหลากหลายในศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ และการปฏิบัติ โดย​ทางการแล้วประเทศอินเดียเป็น รัฐฆราวาส (secular state) และไม่มีศาสนา​ประจำชาติ อนุทวีปอินเดีย เป็นแหล่งกำเนิดของ ศาสนา ที่สำคัญของโลกสี่​ศาสนา ได้แก่ ศาสนาฮินดู , ศาสนาเชน , ศาสนาพุทธ และ ศาสนาซิกข์


อินเดียมีความเชื่อในเรื่องของเทพเจ้า โดยเทพเจ้ามีเรื่องราวและประวัติความ​เป็นมาที่ซับซ้อน โดยการกล่าวอ้างจากคัมภีร์พระเวท

ภาษา

เนื่องจากอินเดียมีประชากรที่มีความแตกต่างทางด้านชาติพันธุ์ และ ​วัฒนธรรม มีภาษาหลักใช้พูดถึง 16 ภาษา เช่น ภาษาฮินดี ภาษา​อังกฤษ ภาษาเบงกอล ภาษาอูรดู ฯลฯ และมีภาษาถิ่นมากกว่า ​100 ภาษา ภาษาฮินดี ถือว่าเป็นภาษาประจำชาติ และภาษาอังกฤษที่​ใช้ในวงราชการและธุรกิจ


วัฒนธรรม

ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอินเดียยาวนานกว่า 4,500 ปี ในช่วงสมัย​พระเวท (1700 ปีก่อนคริสต์ศักราช - 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ​ได้มีการวางรากฐานของปรัชญาฮินดู ตำนานเทววิทยา และ​วรรณกรรม ตลอดจนความเชื่อและการปฏิบัติมากมายที่ยังคงมีอยู่​ในปัจจุบัน เช่น ธรรมะ กรรม โยคะ และโมกษะ


ในด้านเครื่องแต่งกาย ผู้หญิงจะสวมใส่ ส่าหรี ผ้าผืนเดียวที่ยาวกว่า ​6 หลา โดยจะมีเสื้อตัวในเรียกว่า Choli ส่วนผู้ชายจะสวมใส่ผ้าที่สั้น​กว่าเรียกว่า Dhoti และจะมีแซดดาร์ อาจใช้เป็นผ้าคลุมไหล่หรือผ้า​โพกหัว บางทีจะใช้เป็นผ้าพันคอ

Three People in Traditional Clothing

ศิลปะ

ศิลปะส่วนใหญ่ของอินเดียรับอิทธิพลทั้งหมด 4 ครั้ง

  • ครั้งแรก ประมาณ 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช อิทธิพลจากประเทศเม​โสโปเตเมียได้แพร่เข้ามาในลุ่มแม่น้ำสินธุ โดยเรียกว่าอิทธิพลกลุ่ม​อารยัน
  • ครั้งที่สอง ราวพุทธศตวรรษที่ 3 ได้รับอิทธิพลศิลปะจาก อิหร่านและ​กรีก
  • ครั้งที่สาม พุทธศตวรรษที่ 6 ได้รับอิทธิพลจากกรีกและโรมัน
  • ครั้งที่สี่ ช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 กลุ่มมุสลิมซึ่งนับถือศาสนาอิสลาม ​เรียกว่าโมกุล

ที่เราพบเห็นได้ทั้งจากสถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม และศิลปะ​สิ่งทอ


ในส่วนวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงมาที่สุดและมีอิทธิพลในวิถีชีวิตของชุมชนใน​แถบเอเซียตะวันตกเฉียงใต้ ได้แก่ วรรณกรรมรามายณะและมหาภารตะ

The Taj Mahal
Scenes of Ramayana Depicting on the Temple Sri Kodanda Rama Temple, Gollala Mamidada, East Godavari, Andhra Pradesh, India.

วันหยุดและเทศกาล

  • วันชาติ 26 มกราคม
  • วันเอกราช 15 สิงหาคม
  • วันคานธีชยันตี 2 ตุลาคม

นอกจากนี้ยังมีวันหยุดของแต่ละศาสนาและสากล อาทิ วันโฮลี(วันส่ง​ท้ายปีเก่า) วันนวราตรี(วันฉลองเทพทุรคา) เป็นต้น



สัญลักษณ์ธงชาติของอินเดีย

ธงชาติอินเดีย หรือ ติรังคา (Tiraṅgā ) เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสาม​แถบสีในแนวนอนประกอบด้วย สีฝรั่นอินเดีย, สีขาวและสีเขียวอินเดีย ​ตรงกลางคือจักรอโศก สีน้ำเงินเนวีมี 24 แฉก


ไฟฟ้า กระแสไฟที่ใช้คือ 230 โวลท์ (ควรเตรียม Adapterในการเดิน​ทาง)

น้ำประปา ท่านไม่ควรที่จะดื่มน้ำโดยตรงจากก๊อก แนะนำว่าควรดื่มน้ำขวด


เวลา เวลาของประเทศอินเดีย ช้ากว่าประเทศไทย 1 ชั่วโมง 30 นาที

เพลงชาติ เพลงชาติอินเดีย “ชนะ คณะ มนะ” แปลว่า "พระผู้เป็นนาย​เหนือจิตใจปวงชน" บทเพลงนี้เขียนขึ้นด้วย ภาษาเบงกอล สันสกฤต และ​ประพันธ์ทำนองโดย รพินทรนาถ ฐากุร นักเขียน รางวัลโนเบล ชาว​เบงกอล เพลงดังกล่าวได้มีการขับร้องอย่างเป็นทางการครั้งแรกในที่​ประชุมคองเกรสแห่งชาติของอินเดีย (Indian National Congress) ที่​เมืองกัลกัตตา เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 1911


โทรศัพท์ เพื่อความสะดวกกรุณาติดต่อกับทางโรงแรมที่ท่านพัก

โทรศัพท์มาประเทศไทยด้วยโทรศัพท์

001 + 66 + รหัสเมือง + หมายเลขที่ต้องการ

โทรศัพท์จากประเทศไทยสู่ประเทศอินเด​ีย

001 + 91 + รหัสเมือง + หมายเลขที่ต้​องการ

speech bubble outline

+ 91

Phone Outline Icon
rupee

สกุลเงินของอินเดีย คือ


รูเปีย- Rupees (เรียกสั้นๆว่า รูเปีย-INR)


อัตราแลกเปลี่ยน (ณ วันที่ 3 เมษายน 2024)

1 เหรียญสหรัฐฯ = 83.54 INR

และ 1 บาท = 2.27 INR

Close-Up Shot of Banknotes

การใช้บัตรเครดิตต่างๆในประเทศอินเดียสามารถใช้ได้ทุกร้านค้า รวมถึงการใช้จ่ายโ​ดยช้เงินไทยบาท

ภูมิอากาศ

ภูมิอากาศของอินเดียมีความแตกต่างกันอย่างมาก เนื่องจากมีพื้นที่​กว้างใหญ่ ตอนเหนืออยู่ในเขตหนาว และตอนใต้อยู่ในเขตร้อน โดยแบ่ง​ได้เป็น 4 แบบ คือ แบบเขตร้อนชื้น (tropical wet), แบบเขตร้อน​แห้งแล้ง (tropical dry), แบบอบอุ่นชื้น (subtropical humid), ​และแบบเทือกเขาสูง (montanr)

  • ภาคเหนือ มี 4 ฤดู คือ ฤดูหนาว (ธันวาคม-กุมภาพันธ์) ฤดูร้อน ​(มีนาคม-มิถุนายน) ฤดูลมมรสุม (มิถุนายน-กันยายน) และฤดู​หลังมรสุม (ตุลาคม-พฤศจิกายน) อุณหภูมิเฉลี่ยในที่ราบช่วงฤดู​ร้อน ประมาณ 35 C และฤดูหนาว ประมาณ 10 C
  • ภาคใต้ ภูมิอากาศคล้ายประเทศไทย โดยมี 3 ฤดู คือ ฤดูหนาว ​(ธันวาคม-กุมภาพันธ์) ฤดูร้อน (มีนาคม-กันยายน) ฤดูฝน ​(ตุลาคม-พฤศจิกายน)


สัญลักษณ์ประจำชาติ

ตราสัญลักษณ์ประจำชาติ : รูปสลักสิงโตบนยอด​เสาอ​โศกแห่งเมืองสารนาถ

คำขวัญประจำชาติ : สัตยเมวชยเต (Satyameva ​Jayate) “ความจริงเท่านั้นที่มีชัย”

Beautiful Lotus Flower Watercolor

ดอกไม้ประจำชาติ : ดอกบัว

India
bengal tiger element

สัตว์ประจำชาติ : เสือโคร่งเบงกอล

อาหารอินเดีย...น่าลอง

Modern Art Design Frame

Chicken Makhani (ไก่เนย) หรือ​แกงกระหรี่ไก่

Palak Paneer Served Basmati Rice on White.
Modern Art Design Frame

Saag Paneer (แซก ปาเนียร์) ​แกงผักโขม

tandoori chicken
Modern Art Design Frame

Tandoori Chicken (ไก่ทันดูรี) ไก่​ย่าง

Masala Dosa, Dosa, South Indian snack, India
Modern Art Design Frame

Masala Dosa (แพนเค้กอินเดีย)


Modern Art Design Frame

Chicken Tikka Masala (ไก่ทิกก้า​มาซาล่า) ไก่หมักโยเกิร์ต

Mutter Paneer , Indian Dish Cottage cheese and Peas immersed in
Modern Art Design Frame

Mutter Paneer (มาตาร์ ปาเนียร์)

แกงถั่วลันเตา

Naan bread
Modern Art Design Frame

Naan (นาน) แป้งย่าว มักทานคู่กับ​อาหารหลัก


Lamb Mutton Goat Curry Served with Paratha, Overhead View
Modern Art Design Frame

Rogan Josh (โรกัน จอร์ช) หรือ​แกงกะหรี่เนื้อ

Chole Bhature or Chick pea curry and Fried  Puri served in terracotta crockery over white background. selective focus
Modern Art Design Frame

Chole bhature (โชเล บาตูเร) ​แกงถั่วชิกพี

Masala Dosa Dish
Modern Art Design Frame

Dosa (โดซ่า) เครปกร​อ​บ


Kerala breakfast Appam
Modern Art Design Frame

Appam (อัปปัม) แพนเค้กแบ​บนึ่ง

Indian Fasting Food Sabudana Kheer, Sagudana Khir Or Sago Seed Pudding Is Creamy Luscious Sweet Made Of Tapioca Pearls Soaked In Milk And Flavored With Dry Fruits. Enjoyed On Diwali Puja, Navaratra
Modern Art Design Frame

Pongal (ปองกาล)ข้าวผสมกับนม​ต้มและน้ำตาล

kashmiri Mutton Gosht Biryani / Lamb Biryani / Mutton Biryani served with Yogurt dip, selective focus
Modern Art Design Frame

Calcutta Biryani (ข้าวหมก​แกะเบงกอล)

Tasty Fish Curry and Ingredients on White Marble Table, Flat Lay. Indian Cuisine
Modern Art Design Frame

Macher Jhol (แกงปลา​เบงกอล)

Traditional Indian lassi curd with cardamon and saffron.
Modern Art Design Frame

Lassi's (ลาสซี่) โ​ย​เกิร์ตผลไม้


Gulab Jamun
Modern Art Design Frame

Gulab Jamun (กุลับจามุน) โดนัท​ทอด

Samosa
Modern Art Design Frame

Samosa (ซาโมซ่า) กระหรี่ปั๊บ

Traditional Indian Raita with cucumber, cumin, coriander.
Modern Art Design Frame

Raita (ไรตา) โ​ย​เกิร์ตสมุนไพร


Sarson Ka Saag and Makki Ki Roti /Indian Corn Bread with Mustard Leaves Gravy
Modern Art Design Frame

Sarson Da Saag (ซาร์สัน ดา ​ซาก) แกงผักรวม

Dal makhani or dal makhani or daal makhni with Naan
Modern Art Design Frame

Dal Makhani (ดาล มักนี) แกง​ถั่วเลนทิล

Indian famous Papdi Chaat (Papri Chaat). A yummy snack assorted with crunchy base of Papdi (crisp puris) topped with lip-smacking chutneys, veggies and curd.
Modern Art Design Frame

Papri Chaat - ปาปรี จาฏ

Kebab
Modern Art Design Frame

Kebab - เคบับ


Idli, Idlisambhar, chutney, South Indian food, India
Modern Art Design Frame

Idli (อิดลี) ​เ​ค้กข้าว


Traditional Rajasthani Food Daal Baati churma. Indian Food.
Modern Art Design Frame

Dal baati churma (ดัลบาตี ชูร์​มา) แป้งทอดทานคู่กับแกงถั่ว

Momo
Modern Art Design Frame

Momo - โมโม่

Handi Chicken Biryani
Modern Art Design Frame

Chicken Biryani - ข้าวหมกไก่

Indonesian Beef  Rendang
Modern Art Design Frame

Beef Assado (อัสซาโดเนื้อ)


Lamb Curry / Lamb Vindaloo in a Bowl on White Background
Modern Art Design Frame

Vindaloo (วินดาลู)


มีอะไรน่าช้อป...กันจ๊ะ

Modern Art Design Frame

ชา​จากดาจิลิ่ง

Modern Art Design Frame

ดิ​นสอเขียนขอบตา

Modern Art Design Frame

สม​ุนไพร

Modern Art Design Frame

ยา​ลดกรด

Modern Art Design Frame

ช๊อกโ​กแลตลาวา

Modern Art Design Frame

ขน​มทานเล่น

Modern Art Design Frame

คร​ีมบำรุงผิวสกัดน้ำกุหลาบ

Modern Art Design Frame

เค​รื่องประดับ

Modern Art Design Frame

ผลิตภัณฑ์ Himalaya

Modern Art Design Frame

คร​ีมอเนกประสงค์

Modern Art Design Frame

ผ้​าแคชเมียร์

Modern Art Design Frame

พร​ม

Modern Art Design Frame

ยาทา​กันยุง

Modern Art Design Frame

ไม​้แกะสลัก

Modern Art Design Frame

ชุ​ดส่าหรี

Modern Art Design Frame

เท​วรูป

Black Gradient Rectangle

Let's plan your next trip

Address

160/22 ฺบ้านสันอุ้ม ตำบลเ ชิงดอย

อำเภอ ดอยสะเก็ด

จังหวัด เชียงใหม่

THAILAND

5​0220

Contact

Mobile: (+669) 915 4639

in​sideasia@hotmail.com

Office Hours

Monday-Friday : 8.30 am – 5 pm

Saturday : 9.00 am-12​.00 (noon)